ปัั ยสำ �คั อื่นที ะมีผลต่อฐานะ การเงินและการดำ �เนินงานในอนาคต แนวโน้มธุรกิจปี 2566 1. ุรกิ ปิโตรเลียม ทิศทางและแนวโน้มราคาน้ำ �มันดิบปี 2566 คาดการณ์ความ ต้องการใช้น้ำ �มันของโลกอยู่ที่ประมาณ 103 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบเท่ากับในสภาวะก่อนการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โควิด-19 โดยคาดการณ์ความต้องการใช้น้ำ �มันดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประมาณ 2 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับปี 2565 ที่อยู่ที่ 101 ล้าน บาร์เรลต่อวัน จากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ในหลายประเทศ รวมถึงประเทศจีน ที่ได้ประกาศผ่อนคลายมาตรการดังกล่าว และเปิดประเทศในช่วง ต้นปี 2566 ซึ่งคาดว่าการเปิดประเทศนี้จะสนับสนุนความต้องการ ใช้น้ำ �มันอย่างมีนัยสำ �คัญ เนื่องจากประเทศจีนมีปริมาณการนำ �เข้า น้ำ �มันสุทธิมากที่สุดในโลก อย่างไรก็ตาม สถานการณ์เงินเฟ้อที่ เกิดขึ้นทั่วโลก ส่งผลต่อความกังวลต่อ Recession รวมทั้งทิศทาง ของสงครามระหว่างรัสเซียกับยูเครน และผลจากการที่สหรัฐฯ และ กลุ่มประเทศในทวีปยุโรปคว่ำ �บาตรรัสเซีย เป็นปัจจัยที่ต้องติดตาม ผลกระทบต่อความต้องการใช้น้ำ �มันต่อไป สำ �หรับปริมาณการผลิต น้ำ �มันดิบในปี 2566 คาดว่าจะปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 2 ล้านบาร์เรล ต่อวัน อยู่ที่ระดับ 103 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งจะส่งผลให้ปริมาณการ ผลิตอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับปริมาณความต้องการใช้น้ำ �มัน โดย ปริมาณการผลิตส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นจากผู้ผลิตในสหรัฐฯ ประมาณ 1.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน ทั้งนี้ คาดว่าปริมาณการผลิตน้ำ �มันดิบจะอยู่ใน สภาวะตึงตัว เนื่องจากผู้ผลิตส่วนใหญ่ในสหรัฐฯ มุ่งเน้นการผลิต เพื่อทำ �กำ �ไรเป็นหลัก ทำ �ให้การผลิตดังกล่าวปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่าง ช้าๆ ขณะที่ผู้ผลิตกลุ่มโอเปกและพันธมิตรมีนโยบายปรับลดการ ผลิตเดือนละ 2 ล้านบาร์เรลต่อวัน จนถึงสิ้นปี 2566 เพื่อพยุง ราคาน้ำ �มันดิบท่ามกลางความกังวลต่อ Recession นอกจากนี้ ปริมาณน้ำ �มันดิบคงคลังของสหรัฐฯ ที่อยู่ในระดับต่ำ �จากการนำ � SPR ออกสู่ตลาดในปี 2565 ส่งผลให้มีความเสี่ยงด้านอุปทาน หากเกิดเหตุการณ์ที่มีผลกระทบต่อการผลิตน้ำ �มันดิบอย่าง มีนัยสำ �คัญ จากแนวโน้มสภาวะตลาดข้างต้น ทำ �ให้นักวิเคราะห์ คาดการณ์ราคาน้ำ �มันดิบดูไบในปี 2566 อยู่ในช่วง 85-95 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ซึ่งปรับตัวลดลงจากราคาเฉลี่ยทั้งปี 2565 ที่ 96 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล 2. ุรกิ ปิโตรเคมี ทิศทางและแนวโน้มราคาปิโตรเคมีปี 2566 คาดการณ์ความต้องการ ของตลาดจะเติบโตประมาณร้อยละ 1.5-2.0 ในปี 2566 โดยเฉพาะ ความต้องการจากจีนที่จะเริ่มฟื้นตัวกลับมาจากการผ่อนคลาย มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจต่างๆ ทั้งการลงทุนจากทางภาครัฐ และการส่งเสริมให้เกิดการใช้จ่ายภายในประเทศมากขึ้น รวมถึง นโยบายการเปิดประเทศของรัฐบาลจีน ซึ่งจะส่งผลดีกับธุรกิจภาค การบริการโดยเฉพาะที่เกี่ยวเนื่องกับการเดินทางท่องเที่ยว อย่างไรก็ดี ความต้องการยังคงได้รับแรงกดดันจากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น อัตราเงินเฟ้อที่คาดว่าจะทรงตัวในระดับสูง ส่งผลให้ผู้บริโภคต้อง จำ �กัดการใช้จ่าย หรือเพิ่มความระมัดระวังมากยิ่งขึ้น อาจเป็นสาเหตุ ให้ความต้องการสินค้าปลายทางในบางอุตสาหกรรมอ่อนตัวลง ต้นทุนการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้นจากราคาน้ำ �มันดิบและราคาพลังงาน ที่คาดว่าจะยังอยู่ในระดับสูงจากความขัดแย้งระหว่างรัสเซียกับ ยูเครนที่ยืดเยื้อ และมาตรการคว่ำ �บาตรรัสเซียของสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป รวมถึงต้นทุนทางการเงินที่เพิ่มขึ้นจากอัตรา ดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องแม้จะมีอัตราเร่งที่ลดลง ในด้านอุปทาน ของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกยังคงอยู่ในทิศทาง ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในจีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย และ ไทย โดยบางส่วนเกิดจากการเลื่อนแผนการดำ �เนินการจากปี 2565 อีกทั้งความต้องการนำ �เข้าผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีและเม็ดพลาสติก จากจีนที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง จากนโยบายการเพิ่มความสามารถ ในการผลิตภายในประเทศ ที่อาจทำ �ให้เกิดภาวะอุปทานส่วนเกินขึ้น ในภูมิภาค ส่งผลให้การแข่งขันทางการตลาดรุนแรงขึ้น นอกจากนี้ อุตสาหกรรมยังต้องปรับตัวเพื่อเตรียมตัวกับข้อจำ �กัด ทางการค้าในประเด็นด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ Climate Change ที่หลายประเทศต่างต้องตั้งเป้าหมายการลด การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ จาก ภาคพลังงานและอุตสาหกรรม โดยประเทศสหรัฐอเมริกาและ สหภาพยุโรปจะเริ่มใช้ข้อกำ �หนดเกี่ยวกับการควบคุมการนำ �เข้า ผลิตภัณฑ์ที่ปล่อยก๊าซดังกล่าวในปริมาณสูง ซึ่งครอบคลุมถึง ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีและผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในห่วงโซ่การผลิต ส่งผลให้ ผู้ประกอบการที่เกี่ยวเนื่องในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีต้องปรับการ ดำ �เนินการต่างๆ เพื่อรองรับกับข้อกำ �หนดดังกล่าว 191 คำำ �อธิิบายและการวิิเ ราะห์์ของฝ่่ายจััดการ บริษััท ไออาร์พีีซีี จำำ �กัด (ม ชน)
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=